EDUCATION Center for you to UPSKILL & RESKILL
ศูนย์อบรมเชิงปฏิบัติการและทดลองใช้ซอฟต์แวร์จริง
EDUCATION Center for you to UPSKILL & RESKILL
ศูนย์อบรมเชิงปฏิบัติการและทดลองใช้ซอฟต์แวร์จริง
EDUCATION Center for you to UPSKILL & RESKILL
ศูนย์อบรมเชิงปฏิบัติการและทดลองใช้ซอฟต์แวร์จริง
Upcoming
Course
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Courses
December 11, 2024 - December 12, 2024
December 31, 2024
December 31, 2024
December 31, 2024
Training Course Schedule
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Monday
Tuesday
Wednesday
Thursday
Friday
Saturday
Sunday
M
T
W
T
F
S
S
9:00 AM - Fitness for Service
– The FEA Approach
1
9:00 AM - FEM Fundamentals
6
7
8
9:00 AM - CATIA Part Design
12
13
14
15
9:00 AM - Advanced Stuctural FEM
20
21
22
23
9:00 AM - Electromagnetic Analyses
26
27
28
29
30
9:00 AM - CFD Analyses
3
เรียนรู้ข้อกำหนด Fitness for Service (FFS) กับการวิเคราะห์ปัญหางานโครงสร้าง และการประเมินอายุของภาชนะรับความดันด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ซึ่งปกติการประเมินอายุของภาชนะรับความดันจะต้องได้รับการประเมินตามระยะเวลาการใช้งาน หากพบข้อบ่งชี้ความเสียหาย วิศวกรจะต้องดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐาน
เป็นการปูพื้นฐานด้านเทคนิคใน Finite Element Methods (FEM) เป็นหลักสูตรที่สำคัญในการวิเคราะห์ด้วย CAE สำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ หลักสูตรนี้จะเริ่มต้นด้วยความสำคัญ ความสามารถ และการใช้งานของ FEM จากนั้นจะเป็นการกำหนดสมการ FEM ตามด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและความร้อนในรูปแบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ หัวข้อต่าง ๆ ไปจนถึงการวิเคราะห์โครงถัก (truss) การแก้สมการพีชคณิตแบบเชิงเส้นและแบบไม่เป็นเชิงเส้น การประมาณค่า การถ่วงน้ำหนักสำหรับการหาสมการ FEM วัตถุแข็งแกร็งแบบ 3 มิติ การวิเคราะห์เหล็กรูปทรง beam ต่าง ๆ และการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้ก่อนเรียนหลักสูตรขั้นสูงต่อไป
หลักสูตรวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) เรียนรู้เทคนิควิธีการวิเคราะห์โดยเน้นไปที่โครงสร้างแบบเชิงเส้นและการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐานและฝึกทักษะการใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบจำลอง Finite Element แบบ 1 มิติ, 2 มิติ, และ 3 มิติ ในแบบต่าง ๆ พร้อมกับการใส่ค่าคุณสมบัติวัสดุ การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต ซึ่งปัญหาแบบวิเคราะห์ค่าคงที่แบบเชิงเส้นและการโก่งงอจะถูกนำมาใช้เป็นแบบจำลองการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ
หลักสูตร Surface Intermediate นี้ ต่อเนื่องกับหลักสูตร Surface Basic ที่มีการกล่าวถึงเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและออกแบบพื้นผิวเบื้องต้นไปแล้ว โดยในคอร์สนี้ผู้เรียนจะเน้นไปที่ความรู้ด้านการออกแบบ Surface ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือในการสร้างและออกแบบพื้นผิวขั้นสูง เรียนรู้เทคนิคการตรวจสอบและแก้ไขคุณภาพงาน รวมถึงการสร้างพื้นผิวในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
หลักสูตรการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและการเกิดความเครียดอันเกิดจากความร้อนนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาถึงปัญหาของการถ่ายเทความร้อนซึ่งหมายถึงการขยายตัวและหดตัวของวัสดุที่เกิดจากความร้อนมากระทำ เรียนรู้กลไกพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนจากกรณีศึกษา โดยปรากฏการณ์เหล่านี้มักเกิดขึ้นในงานของการถ่ายโอนความร้อนในภาชนะและการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนอยู่สามประเภท ได้แก่ การนำความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation) โดยที่ค่าอุณหภูมิสมดุลที่ได้รับนั้นสามารถคำนวณได้เป็นค่าคงที่เชิงเส้น
การสร้างเส้นโครงร่างและออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบมาสําหรับผู้ที่ต้องการอบรมพื้นฐานการใช้งาน CATIA เพื่อนําไปใช้ต่อยอดการเรียนรู้หลักสูตรขั้นสูงต่อไป ซึ่งในเนื้อหาจะเน้นที่การใช้งาน Interface ของซอฟต์แวร์ การสร้างเส้นโครงร่างด้วยการวาดรูปทรงจาก 2D และ 3D วิธีวิเคราะห์ภาพร่างและแก้ไข พร้อมแบบฝึกหัดประกอบการสอนที่ช่วยให้ผู้อบรมเข้าใจได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว
หลักสูตรนี้ต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการวิเคราะห์คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้นทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น รูปทรงแบบไม่เป็นเชิงเส้น และ การสัมผัสแบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งหลักสูตรนี้ยังรวมถึงการวิธีวิเคราะห์ไม่คงที่แบบไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการทดสอบการกระแทก เช่น การทดสอบการตกและการจำลองการชน
เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจากหลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างขั้นพื้นฐานวิธีการใช้งาน Finite Element Method (FEM) หลักสูตรนี้จะครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองแบบไดนามิกแบบเชิงเส้น รวมถึงการวิเคราะห์ในโหมดปกติ การตอบสนองแบบ Transient และการตอบสนองแบบความถี่ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวคิดของสมการการเคลื่อนที่พร้อมแบบฝึกหัดในภาคปฏิบัติที่หลากหลายเพื่อเสริมเนื้อหาการบรรยายให้เข้าใจยิ่งขึ้น
หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม CATIA นี้ จะครอบคลุมถึงการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การเพิ่มชิ้นส่วนประกอบ และการออกแบบในชิ้นส่วนใหม่ ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เรียนรู้การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบและการเชื่อมโยงกันในการออกแบบ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติ พร้อมกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น หลักสูตรนี้ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ CATIA Part Design Advanced หรือผ่านหลักสูตร CATIA Part Design Advanced มาก่อน
ตลอดหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับการใช้งานพื้นฐานของซอฟต์แวร์ CST STUDIO SUITE ในแง่ของความสามารถในการสร้างแบบจำลองและการจำลอง ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งค่าทั่วไป การส่งผลลัพธ์ และขั้นตอนการวิเคราะห์ผลลัพธ์สำหรับการจำลองแม่เหล็กไฟฟ้า 3 มิติความถี่สูง หลักสูตรนี้ยังจะแนะนำ solver ที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถี่สูงต่าง ๆ ด้วย CST MICROWAVE STUDIO และให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับอัลกอริทึม FIT และ FEM สำหรับตัวแก้ปัญหา Time-Domain และ Frequency-Domain สำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปตามลำดับ
หลักสูตรการวิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณนี้ เริ่มต้นด้วยการทฤษฎีเกี่ยวกับสมการควบคุม (governing) และเงื่อนไขขอบเขต (boundary conditions) ของการไหลแบบราบเรียบ (laminar) และแบบปั่นป่วน (turbulent) จัดเป็นหลักสูตรสำคัญในการสร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้เรียนในทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนผ่านของไหล จากนั้นจะเป็นการเรียนรู้การจำลองการไหลแบบอัด รวมถึงวิธีการลดความซับซ้อนของปัญหาการถ่ายเทความร้อนด้วยการใช้สื่อวัสดุที่มีรูพรุนซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ขั้นสูง ซึ่งหลักสูตรนี้จะมีแบบฝึกหัดตัวอย่างวิธีการสร้างแบบจำลองที่มักพบเจอในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งกรณีศึกษามากมาย โดยเฉพาะการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างของไหลและโครงสร้าง (FSI) ในภายหลัง
Training Room
Rentals
บริการเช่าใช้ห้องอบรม สำหรับใช้ประชุมสัมมนา ทำเลดีเดินทางสะดวก ใกล้รถไฟฟ้า BTS กรุงธนบุรีและวงเวียนใหญ่ ราคากันเอง